FASCINATION ABOUT ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Fascination About ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

เนื่องจากปัญหาใหญ่ที่ก่อให้เกิดเป็นความเหลื่อมล้ำทางการศึกษามาจากปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีเด็ก และเยาวชนไทยจำนวนมากที่อยู่ในครอบครัวที่มีฐานะยากจน โอกาสในการศึกษาจึงมีน้อย เพราะขาดทุนการศึกษา และค่าเล่าเรียน ดังนั้น จึงควรมีกองทุนเพื่อการศึกษา เพื่อช่วยเหลือปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจากการขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียน และให้โอกาสเด็ก หรือเยาวชนได้รับการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพื่อวางรากฐานให้คุณภาพชีวิตเยาวชนให้ดีขึ้นต่อไป

ความเหลื่อมล้ำของคุณภาพการศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่-ขนาดเล็ก:

ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาระหว่างภูมิภาคในประเทศไทย:

กลไกท้องถิ่น คนในพื้นที่มักมีเครือข่ายหรือความสัมพันธ์อันดีกับองค์กรส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. ดร.ศุภโชคยกตัวอย่างว่าในกรณีอื่นๆ อย่างเกิดพายุฤดูร้อน หลังคาบ้านเรือนปลิวเสียหาย อบต.สามารถส่งกระเบื้องมาช่วยได้ทันที แต่เมื่อเป็นโรงเรียน ทางโรงเรียนกลับต้องขอเงินไปยังส่วนกลางก่อน กว่าจะได้เงินมา หลังคาก็เปิด เพดานพังหมดแล้ว องค์กรท้องถิ่นไม่สามารถเข้ามาช่วยได้เพราะผิดระเบียบ การปลดล็อกกติกาบางอย่างให้ท้องถิ่นกับโรงเรียนสามารถช่วยเหลือพึ่งพากันได้ จะทำให้แก้ปัญหาเฉพาะในพื้นที่ได้ทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ

This cookie is ready by Doubleclick and carries out information about how the top user employs the web site and any advertising the end user ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา could have noticed right before checking out the claimed Web-site.

ปัญหาความเหลื่อมล้ำเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและเป็นปัญหารากฐานที่สำคัญอย่างหนึ่งของสังคมไทย โดยเฉพาะเรื่อง “การศึกษา” ที่เป็นปัญหาเรื้อรังมาอย่างยาวนาน เราต่างรู้กันดีว่า “การศึกษา” คือโอกาสที่สามารถช่วยให้คนยกระดับคุณภาพชีวิตในระยะยาวได้ แต่ในทางกลับกันในประเทศไทยก็ยังมีคนที่เข้าไม่ถึงการศึกษา โดยเฉพาะเด็กๆ ในพื้นที่ห่างไกล เพราะติดกับดักความยากจนเข้ามาซ้ำเติมแม้จะมีนโยบายเรียนฟรี แต่เด็กจำนวนไม่น้อยก็ยังขาดแคลนทุนทรัพย์สำหรับค่าเล่าเรียนและค่าเดินทาง

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ มีจํานวนเด็กและเยาวชนที่ยังอยู่ในวัยเรียนการศึกษาภาคบังคับ และมีฐานะยากจนสูงสุด

ภาพจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)

ส่วนศึกษาธิการจังหวัดต้องพยายามให้แต่ละจังหวัดเขียนแผนเรื่องการศึกษาให้ขับเคลื่อนได้ มองให้เห็นว่าเราทำอะไรได้และในความร่วมมือของเราทำอะไรได้อีก และบุคลากรต้องพึงระลึกถึงหน้าที่อยู่เสมอว่าไม่ใช่แค่ใช้สถานศึกษาเป็นบันไดไต่ขึ้นสู่ความเจริญก้าวหน้า แต่ระบบต้องอยู่ได้ด้วยตัวเอง อย่ายึดโยงที่ตัวบุคคล เพราะความยั่งยืนของการศึกษาชาติไม่ได้เริ่มที่นโยบายแต่เริ่มจากเราทุกคน การจัดการศึกษาที่ดีต้องทำความเข้าใจกับความยั่งยืน รวมถึงหาความร่วมมือกับทุกหน่วยงาน และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือออกจากห้องประชุมไปต้องลงมือทำทันทีถึงจะยั่งยืน ถ้าการศึกษาในประเทศเราดีก็แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำได้

ดร.อารี อิ่มสมบัติ : ปักหมุดจุดเหลื่อมล้ำโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล จากดอยสูง จ.เชียงราย ถึงแดนใต้ จ.สุราษฎร์ธานี

ส.ต.หญิง สุธัญญา แตงทอง นักศึกษาครูของโครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดารที่มีความตั้งใจและมุ่งมั่นไปเรียนรู้เพื่อกลับมาพัฒนาห้องเรียนอย่างที่ตั้งใจ

คน เราพบว่ามีการโยกย้ายอัตรากำลังไม่พอเพราะไม่ใช่คนพื้นถิ่น การทำโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่นที่ให้ครูมีโอกาสอยู่ใกล้บ้านตัวเอง ไม่ย้ายไปที่อื่นจะทำให้อัตรากำลังครูในโรงเรียนขนาดเล็กยั่งยืนมากขึ้น เป็นวิธีการหนึ่งในการหาครูเข้าพื้นที่

Report this page